จริงๆแล้วคงไม่มีใครที่จะอยากให้เกิดความสูญเสียแก่เมืองหรือประเทศของตนเอง แต่ทว่าบางครั้งก็จะมีเหตุที่ทำให้เกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างผู้นำ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องผลประโยชน์ การล่าอาณานิคม ขยายอาณาเขตการปกครอง การต้องการรวบแผ่นดิน การชิงความได้เปรียบทางอำนาจ ทรัพยากร หรือแม้กระทั่งในอดีตที่มีการแย่งชิงหญิงสาวที่สละสลวยเป็นที่ต้องการของเหล่าผู้ปกครองหัวเมืองต่างๆ สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนเป็น สาเหตุที่ทำให้สงครามเกิดขึ้น ที่มีส่วนสำคัญที่ทำให้เกิดสงครามขึ้น ซึ่งจะสามารถแยกออกเป็นได้ตามชนวนต่างๆที่เคยเกิดขึ้นมาแล้วในอดีต

ชนวนเหตุที่ก่อให้เกิดสงครามต่างๆขึ้น

การล่าอาณานิคม

     ลัทธิจักรวรรดินิยม ในโบราณกาลช้านานผู้ปกครองที่มีอำนาจทางทหารเฟื่องฟูทางเศรษฐกิจล้วนมีความคิดแบบจักรวรรดินิยม คือการรวมการปกครองให้เป็นหนึ่งเดียว ซึ่งการจะทำให้เป็นเช่นนั้นมีวิธีการง่ายๆคือการล่าดินแดน หรือการอาณานิคมนั่นเอง การจะทำให้เมืองอื่นๆมาสวามิภักดิ์ต่อเราก็ไม่สามารถจะปฏิบัติได้โดยสงบ เพราะแต่ละเมืองล้วนต้องการความเป็นเอกเทศในการปกครอง ไม่มีเมืองไหนอยากเป็นเมืองขึ้นของใคร เพราะเหตุนี้การทำสงครามจึงต้องเกิดขึ้นเพื่อบีบบังคับให้เมืองที่มีความแข็งแกร่งที่น้อยกว่ายินยอมอยู่ใต้การปกครองของเมืองที่แข็งแกร่งกว่า

อุดมการณ์ทางการเมือง

     ความขัดแย้งทางอุดมการณ์ ในแต่ละประเทศนั้นจะมีความเชื่อในการปกครองที่แตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นลัทธิเผด็จการ ทั้งแบบอำนาจนิยมที่อำนาจจะผู้กขาดอยู่กับคนหรือกลุ่มคนเพียงกลุ่มเดียว หรือเบ็ดเสร็จอย่าง ฟาสซิส หรือคอมมิวนิสต์ ซึ่งมีความเชื่อว่าการปกครองโดยชนชั้นปกครองที่มีความคิดที่ดี มีอำนาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาด จะสามารถพัฒนาประเทศได้รวดเร็ว และส่งผลให้เกิดความมั่นคงแก่ประเทศชาติ ส่วนประชาธิปไตยนั้นจะมีความเชื่อที่ว่าประชาชนพลเมืองทุกคนมีสิทธิในความคิดและเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น มีส่วนร่วมในการกำหนดนโยบายบริหารประเทศ ผ่านตัวแทนประชาชนที่มาจากการเลือกตั้ง ใช้เสียงข้างมากในการตัดสินทิศทางของการบริหารประเทศในการบัญญัติกฎหมาย ภายใต้รัฐธรรมนูญที่เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ

ความเชื่อทางศาสนา

     ความเชื่อทางศาสนา ในอดีตนั้นมีศาสนาเกิดขึ้นมากมายตามความเชื่อของแต่ละภูมิภาค ซึ่งแต่ละศาสนา ลัทธิ ก็มีความเชื่อที่แตกต่างกัน แต่ความศรัทธานั้นก็ทำให้เกิดความขัดแย้งอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ เราจะเห็นสงครามศาสนาในอดีตที่เกิดขึ้นจากทิฐิของมนุษย์ ที่ไม่สามารถยอมรับสิ่งที่แตกต่าง เหตุผลก็ไม่สามารถอธิบายให้เข้าใจ ทางออกที่จะตอบโจทย์ของผู้นำศาสนาในอดีตคือการทำสงครามแล้วให้พระเจ้าเป็นผู้ตัดสินทิศทางของศาสนา ซึ่งนั่นฟังดูไม่สมเหตุสมผลเท่าไรกับสิ่งที่เป็นจริง

ทรัพยากรธรรมชาติ

     ทรัพยากรทางธรรมชาติ นอกจากสาเหตุทางความเชื่อและอุดมการณ์แล้ว ทรัพยากรธรรมชาติของแต่ละประเทศนั้นก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดสงครามได้ เพราะเป็นความได้เปรียบทางเศรษฐกิจที่ทำให้ผู้ที่ได้ครอบครองทรัพยากรนั้นมีความมั่นคงและมีต้นทุนที่ไม่ต้องลงทุน จะเห็นได้ว่าประเทศทางตะวันออกกลางมีสงครามตัวแทนเกิดขึ้นมากมาย ภายใต้ข้ออ้างต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นอาวุธเคมี การปกครองที่ขัดหลักมนุษยธรรม ซึ่งประเทศที่มีกำลังทหารนั้นเล็งเห็นประโยชน์จากการเข้าไปบริหารประเทศเหล่านั้นแทนผู้นำ เพราะผลประโยชน์ของทรัพยากรธรรมชาตินั่นเอง

สนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม

     สนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรม เชื่อหรือไม่ว่าภายใต้ความต้องการความสงบของกลุ่มประเทศต่างๆที่ทำสนธิสัญญาเพื่อให้เกิดกฎเกณฑ์ที่เป็นธรรม ก็ยังมีการแบ่งฝักแบ่งฝ่ายเพื่อความได้เปรียบทางการเมือง ซึ่งทุกครั้งก็จะมีกลุ่มประเทศที่มีอำนาจมากใช้อำนาจดังกล่าวต่อรองและชิงความได้เปรียบทางการเมืองให้เกิดข้อตกลงที่ไม่เป็นธรรมและบางประเทศก็ไม่ยอมรับคำตัดสินของกลุ่มตามสนธิสัญญา ซึ่งนี่ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งที่นำไปสู่สงคราม

     จะเห็นได้ว่าสาเหตุของสงครามนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากความเห็นไม่ตรงกัน ซึ่งในปัจจุบันสามารถเดิมพันได้หากมีความคิดที่ต่างกัน  จึงมีส่วนสำคัญที่จะช่วยลดปัญหาความขัดแย้ง ป้องกันการเกิดสงครามโดยใช้เงินมาเดิมพันตามกติกาที่กำหนด และยังให้บริการสล็อตออนไลน์เพื่อคลายเครียดจากการพนันที่ดุเดือด ตามประโยคยอดฮิตที่ว่าความคิดเห็นไม่ตรงกันการพนันจึงเกิดขึ้น